รับตรวจหาอายุวัตถุ
- เนื้อผง เนื้อดิน รูปภาพ ผ้า ไม้ เครื่องปั้นดินเผา รวมถึงวัสดุที่มีการเกิดการสันดาปกับอากาศก่อให้เกิดคราบต่าง ๆ โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ C14จากรังสีที่เหลืออยู่และจากความหนาแน่นของมวลสาร
- รับรองแต่อายุไม่รับรองความแท้ ความหมายคำว่า ใหม่ หมายถึง อายุไม่ถึงยุคการสร้าง , หาอายุไม่ได้ หรือ ไม่มีอายุ
- ค่าตรวจเริ่มต้นที่ชิ้นละ 2,500บาท ไม่รวมค่าใบรับรองหรือใบแสดงผลการวิเคราะห์ รู้ผลประมาณ 15 วัน ทำการ
- ให้ช่วยคัดกรอง ว่าสมควรจะเข้าสู่กระบวนการตรวจหรือไม่ ราคาองค์ละ 200 บาท (ต้องมาด้วยตนเอง)
- ในขณะนี้ งดออกใบรับรอบใบใหม่ จนกว่าจะดำเนินงานตามที่ศาลบอกครบ
ส่งพระหรือมาที่ นายทวีสิทธิ์. วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ 48/199 หมู่ 7 หมู่บ้านดีเค ซอยพระยามนธาตุ 35-5 ถนนกาญจนาภิเษก บางบอน บางบอน กทม. 10150
เลขบัญชีครับ ทวีสิทธิ์. วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ. ธนาคารกสิกรไทย บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 7112347636 สาขาถนนพระราม2
โทร 094 - 3495557
บทความและรูปภาพทุกภาพในเวปนี้มีลิขสิทธิ์ กรุณาอย่านำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาติ ไฟล์ภาพทุกภาพฝังไฟล์พิสูจน์ตัวตนไว้แล้ว มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์
ดูรายละเอียดได้ที่ https://www.facebook.com/groups/age.of.amulet/
การตรวจหาอายุพระ ใบรับรองอายุ ไม่สามารถนำไปอ้างอิงพระองค์อื่น ถึงแม้จะดูคล้ายหรือเหมือน ไม่อนุญาตนำไปอ้างอิงพระของท่านได้ การตรวจอายุเป็นเรื่องเฉพาะพระองค์ที่นำมาตรวจ ไม่สามารถรับรองอายุของวัตถุชิ้นอื่น ถ้าพบว่าคุณละเมิดนำใบรับรองไปอ้างถึงพระองค์อื่น ทางทีมงาน คณะกรรมการออกใบรับรอง อาจจะมีการดำเนินคดีกับคุณได้ ตามที่บัญญัติไว้ตามกฎหมาย
ทุกอย่างมีเหตุและผลในตัวเองอยู่แล้ว เมื่อเกิดการขับเคลื่อน ก็จะเดินหน้าต่อไป เมื่อถึงเวลาอันไม่นาน จำนวนพระที่มีการตรวจอายุ ที่ได้มาตรฐานจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเอง เมื่อถึงเวลานั้น การจัดประกวดเกิดขึ้นแน่นอนก็เลือกเอาละกันครับ จะเอาพระถึงยุค หรือ พระที่ขายได้แต่จะถึงยุคหรือไม่ก็ไม่เป็นไร หรือจะเสาะหาที่มีทั้ง 2 อย่าง ก็ยังน่าจะเป็นไปได้ พระอายุถึงยุค มีพุทธคุณ มีเนื้อหาและมวลสารตามตำราเก่าที่มีบันทึกมา คุณสนใจไหม
งานสัมมนาเรื่องการหาอายุในพระเครื่อง
ปัญหาเรื่องพระที่นำมาตรวจแล้วโดนคัดออกอย่างชัดเจน คือ
1. พระเนื้อปูนแบบอื่น ที่ไม่ใช่พระเนื้อผงในรูปแบบของวัดระฆัง
2. เสียงของพระที่พยายามทำตามตำราที่มีบอกใว้หลายที่ แต่มันไม่ใช่เสียงตกกระทบในแบบที่ตรวจอายุแล้วถึงยุค
3. ลักษณะของพระที่มองออกได้อย่างชัดเจน ในเรื่องของความแห้งของเนื้อพระ
4. องค์ประกอบโดยรวมแบบอื่น ที่ทำให้สามารถทำให้มองออกได้ ว่าพระองค์นี้ปรุงแต่งมา
แค่เบื้องต้นใน 4 ข้อนี้ พระจำนวนมาก หายออกไปจากการ ที่น่าจะนำตรวจหาอายุ โดยผู้ที่นำพระมาให้พิจารณาเอง โดยที่ผมไม่ต้องบอกว่าควรตรวจหรือไม่
หลักการตรวจหาอายุ แบบที่ง่ายที่สุด
1. เครื่องที่สามารถตรวจค่ารังสีแบบละเอียดได้
2. ก้อนแร่ยูเรเนียม ใว้ทดสอบเครื่อง ว่าเครื่องยังทำงานอยู่
3. วัตถุตัวอย่างที่มั่นใจในเรื่องอายุที่ชัดเจน ที่ต้องมีหลายอายุ มากอย่างเพียงพอ
4. สำคัญที่สุด ประสบการณ์ ต้องเคยเห็นและสัมผัสกับวัตถุ วัสดุ และเคมี ชนิดต่างๆมาอย่างเพียงพอ
ง่ายๆครับ วัตถุที่มีอายุเท่ากัน และ ใช้วัสดุแบบเดียวกัน ค่าตัวเลข เหมือนกันอยู่แล้ว เพราะฉะนั้น จะเถียงกันว่าวัสดุ อายุน้อย ไม่สามารถตรวจจับค่าอายุได้ ก็ท่องกันต่อไป
จากการตรวจหาอายุ บางท่านอาจจะสงสัยในผลวิเคราะห์ ที่ว่าตรวจเจอส่วนผสมของเรซิ่น(สังเคราะห์) คำว่าเรซิ่น ท่านอาจจะไปนึกถึงวัสดุสำหรับการหล่อพลาสติกหรือตุ๊กตา แต่ความเป็นจริงแล้ว เรซิ่น แบ่งออกใด้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1. เรซิ่น จากธรรมชาติ เช่น ยางไม้ กาวกระถิน, กาวมะขวิด, ยางสน, กาวมะขาม, กาวหนังสัตว์ ตัวเชื่อมประสานต่างๆที่มาจากธรรมชาติ ฯลฯ
2. เรซิ่นสังเคราะห์ ซึ่งส่วนใหญ่ได้มาจากปิโตรเคมี เช่น กาวสมัยใหม่ชนิดต่างๆ ใบเดอร์, บินเดอร์, อะคริลิก, ลาเท็กซ์, pva, pvac ฯลฯ เหล่านี้เป็นต้น
บางครั้งในการหักพระดู ว่า ส่วนผสมที่ว่านั้นเป็นอย่างไร คุณไม่มีทางมองเห็นได้ เพราะมันเป็นแค่ตัวที่ช่วยประสานให้เนื้อพระอยู่ด้วยกันได้ ไม่ใช่เป็นส่วนผสมหลัก ที่ทำให้มองดูแล้วรู้ว่าเป็นพลาสติก แต่ข้อสังเกตเบื้องต้น ก็ยังสามารถที่จะมองออกได้ เช่น ผิวพระที่มันผิดปกติจากธรรมชาติ เนื้อพระต่างๆที่มีส่วนผสมเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์เกินไป
ยังโชคดี สิ่งที่มองไม่เห็นเหล่านี้ สามารถตรวจสอบได้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ที่สามารถวิเคราะห์รังสี ความหนาแน่น และมวลสารได้ ทำให้เราได้รับรู้ในสิ่งที่ควรจะเป็น ไม่ต้องคาดเดาอีกต่อไป
ทดสอบคาร์บอน 14 ของวัสดุอินทรีย์
ในปี 1950 WF ลิบบี้และอื่น ๆ (มหาวิทยาลัยชิคาโก) คิดค้นวิธีการในการประเมินอายุของอินทรียวัตถุขึ้นอยู่กับอัตราการสลายตัวของคาร์บอน-14 Carbon-14 เดท ที่สามารถใช้กับวัตถุตั้งแต่ไม่กี่ร้อยปีถึง 50,000 ปี
Carbon-14 ที่ผลิตในบรรยากาศเมื่อนิวตรอนจากรังสีคอสมิกทำปฏิกิริยากับอะตอมไนโตรเจน: 14 7 N + 1 0 n → 14 6 c + 1 1 H คาร์บอนฟรีรวมทั้งคาร์บอน -14 ที่ผลิตในปฏิกิริยานี้สามารถตอบสนองในรูปแบบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอากาศ บรรยากาศก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์,มีความเข้มข้นคงที่เกี่ยวกับหนึ่งอะตอมของคาร์บอน -14 ต่อทุก 10 อะตอมของคาร์บอน-12 พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ที่กินพืช (เช่นคน) ใช้เวลาในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และมีเดียวกัน14 C / 12อัตราส่วน C เป็นบรรยากาศ แต่เมื่อพืชหรือสัตว์ตายจะหยุด intaking คาร์บอนเป็นอาหารหรืออากาศ การสลายกัมมันตรังสีของคาร์บอนที่มีอยู่แล้วในปัจจุบันเริ่มที่จะเปลี่ยนอัตราส่วนของ14 C / 12 C. โดยการวัดอัตราส่วนเท่าใดจะลดลงก็เป็นไปได้ที่จะทำให้การประมาณการของเท่าใดเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่พืชหรือสัตว์ที่อาศัยอยู่ การสลายตัวของคาร์บอน 14 คือ : 14 6 C → 14 7 N + 0 -1 e (ครึ่งชีวิตคือ 5,730 ปี)
ไม่รับดูพระด้วยตาเปล่านะครับ ตอบไม่ได้ว่าดีหรือไม่ดี
บางท่านอาจจะสงสัย เรื่องการตรวจวิเคราะห์หาค่ามวลสาร ที่สภาบันแห่งหนึ่ง มีค่าอายุพันกว่าปี จริงๆแล้วเป็นค่าอายุรวม พระสมเด็จวัดระฆังมีค่ามวลสารรวม ประมาณนี้แทบทุกองค์ แต่เครื่องวัดไม่ได้มีแต่ค่าอันนี้ แต่เพียงอย่างเดียว มีค่าตัวเลขอีกหลายชุด เพื่อแยกค่ามวลสารเฉลี่ย ออกมาคำนวณหาค่าครึ่งอายุหลัง แล้วค่อยคำนวณออกมาเป็นค่าอายุพระ แต่ถ้าเป็นของใหม่ ค่าพวกนี้ไม่ขึ้นครบทุกต้ว ขึ้นเฉพาะบางตัวหรือไม่ขึ้นเลย
การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี (radiometric dating)
การเปลี่ยนแปลงการหาค่าอายุจากทฤษฎีและเครื่องมือในระบบ Scintillation meter, Gamma-Ray spectrometer ที่ใช้วิธีการทำลายวัตถุตัวอย่างเพื่อดักจับไอคาร์บอนไปกระบวนการตรวจวัด มาสู่กระบวนการหาค่าคาร์บอนกัมมันตรังสี (radiometric dating) จากวัตถุโดยตรง แล้วนำค่าที่ได้มาคำนวณหาอายุ ที่ไม่ได้กำหนดว่าจะต้องเป็นอินทรียวัตถุแต่เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป สามารถตรวจหาอายุได้ในทุกวัตถุ ที่มีสามารถดูดซับค่าคาร์บอนกัมมันตรังสี ทำให้เกิดการถกเถียงกันเป็นวงกว้าง ว่ามีความจำเป็นที่จะต้องทำลายวัตถุตัวอย่างหรือไม่ โดยบางกลุ่มบางพวกก็ไม่ยอมรับในกระบวนการนี้ โดยยังยืนยันว่าทั่วโลกใช้วิธีทำลายวัตถุตัวอย่างเท่านั้น แต่ในบทความนี้ได้อ้างถึงทฤษฎีหลักที่ใช้ในการตรวจหาอายุถึง 4 เครื่องมือ ได้แก่
นอกจากเครื่องมือนี้แล้ว ยังประกอบด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆ ที่ใช้ประกอบอีกหลายอย่างตามความจำเป็น เช่น กล้องส่องขยายกำลังสูง , เครื่องวิเคราะห์แร่ธาตุ , เครื่องวิเคราะห์ความหนาแน่นของมวลวัตถุ เป็นต้น
การศึกษาเกี่ยวกับโบราณคดี (Archeology) หรือ ทางธรณีวิทยา(Geology) มีความจำเป็นต้องรู้อายุของวัตถุโบราณซึ่งอาจจะอยู่ในรูปซากดึกดำบรรพ์ (Fossil) หรือในสภาพที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง เนื่องจากมีการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเมื่อทราบค่าช่วงเวลาครึ่งชีวิตของแต่ละชนิดของธาตุแล้วนำสมบัติข้อนี้มาใช้หาอายุของวัตถุโบราณได้ ในการศึกษาโบราณคดี ซึ่งเกี่ยวกับวัตถุโบราณซึ่งมีอายุหลายพันปีตลอดจนถึงในสมัยหลัง ๆ นี้เราใช้ธาตุกัมมันตรังสี C14 ในการวิเคราะห์หาอายุ C14 มีช่วงเวลาครึ่งชีวิต ( half - life ) 5730 ปีและมีข้อดีที่ว่าธาตุคาร์บอน ( Carbon ) เป็นองค์ประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ส่วนใหญ่ธาตุคาร์บอนจะอยู่ในรูป C12 แต่ C14 เกิดจากธรรมชาติ เมื่อเกิด C14 ในบรรยากาศแล้วก็จะรวมตัวกับ O2 เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งพืชจะนำไปใช้ปรุงอาหาร (Photosynthesis) ดังนั้น C14 จึงเข้าไปอยู่ในพืชด้วยวิธีนี้ สัตว์อาศัยพืชเป็นอาหารจึงได้รับ C14 มาจากพืชอีกต่อหนึ่ง ดังนั้น C14 จะปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตและมีการสลายตัว ซึ่งมีช่วงเวลาครึ่งชีวิตนานมาก ในขณะที่มีชีวิตอยู่อัตราส่วน C14 : C12 ในร่างของสัตว์และพืชจะมีค่าคงตัวขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์ หรือพืชนั้น ๆ แต่เมื่อสิ้นชีวิตลงโอกาสที่จะได้รับ C14 ตามปกติก็จะหยุดลงด้วย ดังนั้นอัตราส่วน C14 : C12 เมื่อตายแล้วจะลดลงเรื่อย ๆ
การหาค่าครึ่งชีวิต
ครึ่งชีวิต (half-life) ของสารกัมมันตรังสี หมายถึง ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีสลายตัวไปจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม ใช้สัญลักษณ์เป็น t1/2
ครึ่งชีวิตสามารถใช้หาอายุของวัตถุโบราณที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ เรียกว่าวิธี Radiocarbon Dating ซึ่งคำว่า dating หมายถึง การหาอายุจึงมักใช้หาอายุของวัตถุโบราณที่มีคุณค่าทางประวิติศาสตร์
วิธีที่ใช้การคำนวณหาอายุของคาร์บอนมากที่สุดคือ การประมาณการอายุของซากสารประกอบอินทรีย์ที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดี ในขณะที่พืชเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ในชั้นบรรยากาศ ด้วยการแยกอินทรียวัตถุตามขั้นตอนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นการเพิ่มปริมาณของ 14C ให้ใกล้เคียงกับระดับของไอโซโทปคาร์บอนในชั้นบรรยากาศเมื่อพืชตายหรือถูกกินโดยสิ่งมีชีวิตอื่น(ตัวอย่าง โดยมนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ) การสะสมของส่วนประกอบ 14C หยุดตัวลง และวัตถุลดลงตามอัตราเลขชี้กำลังเนื่องจากการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีของ 14C จากการเปรียบเทียบอัตราส่วนคงเหลือของ 14C ของวัตถุตัวอย่างเมื่อเปรียบเทียบจาก 14C ในชั้นบรรยากาศ ช่วยให้สามารถประเมินอายุของวัตถุตัวอย่างได้
หลักการหาค่าอายุ
หลักการที่สำคัญของการหาอายุวัตถุโบราณโดยวิธี Radiocarbon Dating เป็นหลักการที่อาศัยความรู้เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นเองในอากาศ ตัวการที่สำคัญคือ รังสีคอสมิก ซึงอยู่ในบรรยากาศเหนือพื้นโลก มีความเข้มสูงจนทำให้นิวเคลียสขององค์ประกอบของอากาศแตกตัวออก ให้อนุภาคนิวตรอน แล้วอนุภาคนิวตรอนชนกับไนโตรเจนในอากาศ ทำให้เกิดไอโซโทปของ C-14 ดังนี้
คาร์บอนฟรีรวมทั้งคาร์บอน -14 ( 14 C ) ตอบสนองในรูปแบบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอากาศ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีความเข้มข้นคงที่ของหนึ่งอะตอมของคาร์บอน -14 ต่อทุก 10 12 อะตอมของคาร์บอน-12 ( 12 C) ในพืชและสัตว์ที่กินพืช ใช้เวลาในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และมีเดียวกัน 14 C / 12 C อัตราส่วน 14 C เป็นบรรยากาศ แต่เมื่อพืชหรือสัตว์ตายการสะสมรังสีคาร์บอนจะหยุดลง การสลายกัมมันตรังสีของคาร์บอนที่มีอยู่แล้วในปัจจุบันเริ่มที่จะเปลี่ยนอัตราส่วนของ 14 C / 12 C
C-14 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสี มีครึ่งชีวิต 5,730 ปีในบรรยากาศ คาร์บอนทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ได้เป็น CO2 ซึ่งทำให้มีทั้ง 12CO2 และ 14CO2 ปนกัน เมื่อพืชนำไปใช้ในการสังเคราะห์แสง C-14 จะอยู่ในพืชและเมื่อสัตว์กินพืชเป็นอาหาร C-14 ก็จะเข้าไปอยู่ในร่างกาย ในขณะที่พืชและสัตว์มีชีวิต 14CO2 จะเข้าไปและขับออกมาอยู่ตลอดเวลา ทำให้มี C-14 ด้วยสัดส่วนคงที่แน่นอน แต่เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงการรับ C-14 ก็จะหยุดลง ปริมาณ C-14 ก็จะลดลงเพราะเกิดการสลายตัวตัวตลอดเวลา ดังนั้นถ้าทราบอัตราการสลายตัวของ C-14 ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่และทราบอัตราการสลายตัวขณะนั้น ก็สามารถคำนวณอายุได้
ธาตุคาร์บอนมีสถานะคงที่ 2 สถานะ คือ
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive element)
กัมมันตรังสี (radioactivity) หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ธาตุสามารถแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง ปรากฏการณ์นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไม่เสถียร
ธาตุกัมมันตรังสี หมายถึง ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสี สามารถแผ่รังสีและกลายเป็นอะตอมของธาตุอื่นได้
ในปี พ.ศ. 2439 อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล (Antcine Henri Bacquerel) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้พบว่าแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่มีกระดาษดำห่อหุ้มอยู่ และเก็บรวมกันไว้กับสารประกอบของยูเรเนียม มีลักษณะเหมือนถูกแสง จึงทำการทดสอบกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่นๆ ก็พบว่าให้ผลการทดลองเช่นเดียวกัน แบ็คเกอเรล จึงสรุปเป็นเบื้องต้นว่า มีการแผ่รังสีออกมาจากธาตุยูเรเนียม ต่อมาปีแอร์ กูรี (Pierre Curie) และมารี กูรี (marie Curie) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ก็ได้พบว่าธาตุอื่น ๆ เช่น พลอโลเนียม (Po) เรเดียม (Ra) และทอเรียม (Th) ก็สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกัน และลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ก็ได้ค้นพบเพิ่มเติมอีก และได้แสดงให้เห็นว่ารังสีที่แผ่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีอาจเป็น รังสีแอลฟา (- ray ) รังสีเบตา (b-ray) หรือรังสีแกรมมา (g-ray)
รังสีดังกล่าวมีสมบัติต่างๆ กันดังนี้
รังสีแอลฟาเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอนจึงมีประจุไฟฟ้าเป็น +2 มีมวล 4.00276 amu รังสีแอลฟาอำนาจทะลุทะลวงต่ำ ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษ หรือโลหะบางๆ ได้ และเนื่องจากมีประจุบวก เมื่ออยู่ในสนามไฟฟ้าจึงเบี่ยงเบนไปทางขั้วลบ เมื่อวิ่งผ่านอากาศอาจจะทำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้
รังสีบีตา มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับ 0.000540 amu เท่ากับมวลของอิเล็กตรอน รังสีบีตามีอำนาจในการทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า มีความเร็วในการเคลื่อนที่ใกล้เคียงกับแสง เนื่องจากมีประจุลบจึงเบี่ยงเบนไปทางขั้วบวก เมื่ออยู่ในสนามไฟฟ้า
รังสีแกมมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก คือประมาณ 0.001-1.5 pm ไม่มีมวลและไม่มีประจุ มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางได้เป้นอย่างดี ดังนั้นวัตุที่จะกั้นรังสีแกรมมาได้ จะต้องมีความหนาแน่นและความหนามากพอที่จะกั้นรังสีได้ เนื่องจากไม่มีประจุไฟฟ้า จึงไม่เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า
นอกจากรังสี 3 ชนิดดังกล่าวแล้ว ยังอาจจะพบอนุภาคอื่น ๆ แผ่รังสีออกมาจากนิวเคลียสได้เช่น โพสิตรอน นิวตรอน และโปรตอน ซึ่งมีประจุและมวลเปรียบเทียบกับรังสีทั้ง 3 ชนิดดังในตารางต่อไปนี้
ตาราง แสดงประจุและมวลของอนุภาคชนิดต่างๆ ที่เกิดจากการแผ่รังสี
อนุภาค |
สัญลักษณ์ |
ชนิดของประจุ |
มวล(amu)* |
แอลฟา บีตา แกรมมา โพซิตรอน นิวตรอน โปรตอน |
a, b, g , , n , P |
+2 -1 0 +1 0 +1 |
4.00276 0.000540 0 0.000540 1.0087 1.0073 |
* 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 g.
ธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติ
ธาตุต่างๆ ที่พบในธรรมชาตินั้น ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 ล้วนแต่แผ่รังสีได้ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น , , , และ ซึ่งอาจเขียนใหม่เป็น U-238, U-235, Th-232, Rn-222 และ Ra-226
นอกจาก ธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยังสามารถสังเคราะห์ธาตุกัมมันตรังสีขึ้นมาได้ ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การที่ธาตุกัมมันตรังสีออกมาก็เพราะว่า นิวเคลียสของธาตุไม่เสถียร เนื่องจากมีพลังงานส่วนเกินอยู่ภายใน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องถ่ายเทพลังงานส่วนเกินนี้ออกไปเพื่อให้นิวเคลียส เสถียรในที่สุด พลังงานส่วนที่เกิน ที่ปล่อยออกมานี้จะอยู่ในรูปของอนุภาคหรือรังสีต่างๆ เช่น รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
จากการศึกษาไอโซโทปของธาตุต่างๆ จำนวนมากพบว่า ไอโซโทปที่นิวเคลียสมีอัตราส่วนระหว่างจำนวนนิวตรอนต่อโปรตอนไม่เหมาะสม คือ มีนิวตรอนมากกว่าหรือน้อยกว่าโปรตอน มักจะไม่เสถียร ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสเป็นนิวเคลียสใหม่ที่เสถียรกว่า โดยการแผ่รังสีออกมาดังที่กล่าวแล้ว นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่เป็นจำนวนคู่หรือคี่ในนิวเคลียสนั้น มีความสัมพันธ์กับเสถียรภาพของนิวเคลียสด้วย กล่าวคือ ธาตุที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเป็นเลขคู่จะเสถียรกว่าธาตุที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเป็นเลขคี่
การแผ่รังสีแอลฟา
การแผ่รังสีแอลฟา เกิดขึ้นในกรณีที่ไอโซโทปนั้นมีเลขอะตอมมากกว่า 82 และนิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนไม่เหมาะสม ทำให้เกิดแรงผลักกันในนิวเคลียสมากกว่าแรงยึดกัน นิวเคลียสจึงพยายามลดจำนวนอนุภาคลงให้มากที่สุด เพื่อให้ได้นิวเคลียสที่เสถียร ดังนั้นหลังจากการแผ่รังสีแอลฟา นิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่จะมีเลขอะตอมลดลง 2 และเลขมวลลดลง 4 ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การแผ่รังสีบีตา
การแผ่รังสีบีตาเกิดขึ้นในกรณีที่นิงเคลียสมีจำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอน จึงพยายามลดอัตราส่วนระหว่างนิวตรอนต่อโปรตอน โดยนิวตรอนจะเปลี่ยนไปเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน ทำให้เลขอะตอมเพิ่มขึ้น 1 แต่เลขมวลคงเดิม ดังตัวอย่างเช่น
การแผ่รังสีแกมมา
การแผ่รังสีแกมมา มักจะเกิดขึ้น ในกรณีที่ไอโซโทปมีการสลายตัวให้รังสีแอลฟาหรือบีตาแล้ว ยังได้นิวเคลียสใหม่ไม่เสถียร ยังอยู่ในสภาวะกระตุ้น มีพลังงานเกินกว่าปกติ เมื่อกลับสู่สภาวะปกติจึงปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีแกมมา ดังนั้นการแผ่รังสีแกมมาจึงไม่ทำให้เลขมวลและเลขอะตอมเปลี่ยนแปลง
สรุปการแผ่รังสีของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสี |
การเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียส |
|||
ชนิด |
เลขมวล |
ประจุ |
เลขมวล |
เลขอะตอม |
แอลฟา (a) บีตา (b) แกมมา (g) โพซิตรอน () |
4 0 0 0 |
+2 -1 0 +1 |
ลดลง 4 ไม่เปลี่ยน ไม่เปลี่ยน ไม่เปลี่ยน |
ลดลง 2 เพิ่มขึ้น 1 ไม่เปลี่ยน ลดลง 1 |
เครื่องมือการสำรวจค่ารังสี
1. Geiger-Mueller counter
Geiger-Mueller counter เป็นเครื่องมืออย่างง่ายที่ใช้ในการตรวจวัดรังสีบีตา แต่เครื่องมือนี้ใช้ได้เฉพาะการสำรวจภาคพื้นดินเท่านั้น ตัวตรวจวัดเป็นเป็นหลอดทรงกระบอกที่มีผนังบาง ส่วนปลายเป็นหน้าต่างทำจากไมกาบางน้อยกว่า 0.025 มิลลิเมตร เพื่อให้อนุภาคบีตาผ่านได้
ในหลอดแก้วประกอบด้วยแกนลวดขั้วลบและ coaxial cathode cylinder ภายในบรรจุก๊าซเฉื่อยจำพวก อากอน (argon) ผสมกับแอลกอฮอลล์ มีเธน ไอน้ำ ที่ความดัน 0.1 atm ก๊าซที่ผสมกันนี้ทำให้เกิด quenching action แหล่งกำเนิดกระแสไฟฟ้าต่ำให้ความต่างศักย์หลายร้อยโวลต์ระหว่าง diode
รังสีที่แผ่เข้ามาในหลอดที่อะตอมของก๊าซถูกกระตุ้นให้เป็นไอออน และ ไอออนบวกและอิเล็กตรอนถูกเร่งโดยความต่างศักย์สูงกับ cathode และ anode ตามลำดับ ประจุเหล่านี้ก็กระตุ้นอะตอมของก๊าซในขณะที่เดินทาง การกระตุ้นถูกสะสมและรังสีตั้งต้นสร้าง discharge pulse ระหว่าง anode resistor ซึ่งถูกขยายใน transistor stage เพื่อสร้าง click ในหูฟัง pulse ที่ตามมาในภายหลังเพิ่มประจุให้กับ ccondenser ซึ่งต่อมาเกิดการรั่วอย่างช้าๆ ผ่านresistance สูงเป็นชุดใน micrommeter ตัววัด registers a current proportional to the integral of the charge entering the condenser.
จุดประสงค์ของ quenching agent คือ การยับยั้งการปลดปล่อย secondary electron จาก cathode ที่มีสาเหตุจากการระดมยิงของไอออนประจุบวก ผลดังกล่าวทำให้เกิดการยืดระยะเวลาออกของการคายประจุ การเกิด quenching อย่างรวดเร็วของการคายประจุทำให้หลอดกลับคืนสู่ขั้น nonconducting ดังนั้น การตอบสนองต่อรังสีที่ตามมาภายหลัง entering the chamber shortly after the first. ถึงแม้ว่า ในหลอดที่ดี clean-up time ยังเป็นที่ต้องการ มันสามารถที่จะถูกลดให้น้อยกว่า 100 ms เมื่อ suitable quenching gas mixture
การสำรวจโดยใช้ Geiger counter มีข้อดีที่ทำได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย แต่อย่างไรก็ดี มีข้อแนะนำว่า ขณะทำการสำรวจต้องให้เครื่องอยู่ใกล้กับหินโผล่ให้มาก เพื่อที่จะสามารถตรวจจับรังสีบีตา เนื่องจากเครื่องมือมีความไวต่อการตรวจจับรังสีบีตาที่เป็นไอออนอย่างอ่อนได้น้อย และมีแนวโน้มที่จะวิ่งผ่านหลอดไปโดยที่ไม่ได้ถูกตรวจจับ ใบพายที่ทำจากตะกั่วที่ติดตั้งอยู่ด้านนอกของหลอดใช้ลดและเปลี่ยนรังสีแกมมาให้เป็นรังสีบีตา อย่างไรก็ดี ไม่มีการปรับปรุงให้ประสิทธิภาพให้ดีพอที่จะแข่งขันกับ scintillation meter ดังนั้น Geiger counter จึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ในวงจำกัด
2. Scintillation meter
เครื่องวัดรังสีในระบบนี้จะเปลี่ยนคาร์บอนให้อยู่ในรูปของสารประกอบเบนซีน ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการเคมีอยู่ 3 ขั้นตอน คือการเปลี่ยนคาร์บอนในตัวอย่างให้อยู่ในรูปแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ การเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สอะเซทิลีน และการเปลี่ยนแก๊สอะเซทิลีนเป็นสารประกอบเบนซีน หรือทำการดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยตรงด้วยสารละลายที่เป็นด่าง
การนับของ scintillation เกิดจากการถูกระดมยิงด้วยรังสีของ zinc sulfide screen ซึ่งเป็นวิธีที่ถูกใช้ในการตรวจจับในสมัยแรก วัสดุอื่นที่ถูกใช้เพื่อจุดประสงค์นี้ประกอบด้วย anthracene stilbene และ scheelite ตัวตรวจจับที่ดีที่สุดทำจาก sodium iodide (NaI), treated with thallium (Tl) ผลึก NaI ยอมให้การปลดปล่อยฟลูออเรสเซนซ์จากตัวผลึกผ่านได้ ผลึกด้านหนึ่งเคลือบด้วยวัสดุที่สะท้อนแสง ถ้าผลึกมีขนาดใหญ่พอ ประสิทธิภาพการเปลี่ยนรังสีแกมมาธรรมชาติเท่ากับ 100% เครื่องมือที่เคลื่อนย้ายได้สะดวกของเครื่องมือนี้เป็นการพัฒนาของ photomultiplier tube
ผลของ photoelectric effect ซึ่งรังสีแกมมาสูญเสียพลังงานทั้งหมดไปกับ bound atomic electron ส่วนหนึ่งของพลังงานถูกใช้เพื่อเอาชนะ its binding กับอะตอม พลังงานส่วนที่เหลือเป็นพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน ผลอันนี้ predominates ที่พลังงานต่ำ (< 200 keV) ถึงแม้ว่า มันจะเปลี่ยนแปลงไปกับเลขอะตอมของวัสดุที่ดูดซับ
compton scattering โดย atomic electron ซึ่งรังสีแกมมาถูกหักเห ในทิศทางที่รังสีแกมมาเดินทาง เมื่อพลังงานของรังสีแกมมามีค่ามากกว่าพลังงานของ electron binding ซึ่งมีค่าระหว่าง 105 eV สำหรับอิเล็กตรอนชั้น K ซึ่งอยู่ชั้นในสุด สำหรับธาตุหนัก และ 2 – 3 eV สำหรับธาตุเบา scattering เกิดขึ้น as through the electrons were unbound and at rest นี่คือ ปฏิกิริยาหลักที่ intermediate energies (100 keV ถึง 2 MeV) และผลของเลขอะตอม is not pronounced.
pair production ซึ่งรังสีแกมมาถูกทำลายใกล้นิวเคลียสหรืออิเล็กตรอนในขณะที่สร้างคู่อิเล็กตรอน-โปซิตรอน พลังงานที่ต้องการสำหรับกระบวนการนี้ต้องมีค่ามากกว่าพลังงานที่เหลือของคู่อิเล็กตรอน-โปซิตรอน; any excess appears as kinetic energy of the electron and positron เนื่องจากอิเล็กตรอนที่เหลือพลังงานคือ 0.51 MeV การสร้างคู่อิเล็กตรอน-โปซิตรอนไม่สามารถเกิดขึ้นได้จนกว่าพลังงานเริ่มต้นของรังสีแกมมาจะมากกว่า 1.02 MeV
ปฏิกิริยา 3 แบบ แบบแรกเหมาะสำหรับ g-ray spectroscopy เนื่องจากการแผ่รังสีตั้งต้นถูกเปลี่ยนไปเป็น light photon, giving up all its energy in the process สำหรับ ordinary scintillation meter, สิ่งที่ต้องการคือรังสีแกมมาซึ่งสุดท้ายเปลี่ยนไปเป็นแสง ไม่สนใจถึงการดูดซับ
Description of scintillation meter
แสงซึ่งเกิดขึ้นภายในผลึก NaI จากการเปลี่ยนรังสีแกมมา เมื่อไปตกบน semitransparent photocathode
3. Gamma-Ray spectrometer
การเพิ่มประสิทธิภาพของ scintillometer คือ spectrometer ซึ่งมีความสามารถในการแยกรังสีแกมมาที่มาจากธาตุโปตัสเซียม ยูเรเนียม และ ทอเรียม เพื่อใช้ในการกำหนดแหล่งที่มาของรังสี เครื่องมือมักใช้ในการสำรวจทางอากาศและเครื่องมือที่สามารถเคลื่อนย้ายได้
spectrometer ถูกใช้ในการวิเคราะห์รังสีแกมมาในห้องปฏิบัติการนิวเคลียส์ฟิสิกส์มานานกว่า 40 ปี โดยอาศัยหลักการที่ว่าความเข้มของแสงและขนาดของความแตกต่างของสัญญาณจากเครื่องขยายเป็นสัดส่วนตรงกับพลังงานเริ่มต้นของรังสีแกมมา แต่ในความเป็นจริง หลักการดังกล่าวมีความถูกต้องเพียงบางส่วน เนื่องจากขบวนการที่มีความซับซ้อนของการดูดซับของรังสีแกมมา
เมื่อรังสีแกมมาสูญเสียพลังงานเริ่มต้นทั้งหมด เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงโดย photoconversion
4. Miscellaneous instruments
scintillation meter แบบที่เคลื่อนย้ายได้บางชนิดมีการปรับปรุงให้วงจรมีความซับซ้อนน้อยลง สามารถจำแนกระหว่าง โปตัสเซียม ยูเรเนียม และทอเรียม อย่างคร่าวๆได้ พอๆกับการวัดค่ารังสีแกมมารวม
- รับวาดภาพและจัดหาผลงานศิลปะตามที่ท่านต้องการ โทรมาปรึกษาได้
- รับพิมพ์รูปของท่านลงบนผ้าแคนวาสสำหรับงานศิลปะ
- รับตรวจหาอายุวัตถุ เนื้อผง เนื้อดิน รูปภาพ ผ้า ไม้ เครื่องปั้นดินเผา รวมถึงวัสดุที่มีการเกิดการสันดาปกับอากาศก่อให้เกิดคราบต่าง ๆ โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ MRI จากรังสีที่เหลืออยู่และจากความหนาแน่นของมวลสาร รับรองแต่อายุไม่รับรองความแท้ ความหมายคำว่า ใหม่ หมายถึง อายุไม่ถึงยุคการสร้าง , หาอายุไม่ได้ หรือ ไม่มีอายุ
- ค่าตรวจเริ่มต้นที่ชิ้นละ 2,500 บาท ไม่รวมค่าใบรับรองหรือใบแสดงผลการวิเคราะห์ รู้ผล ประมาณ 7 วัน ทำการ
- ให้ช่วยคัดกรอง ว่าสมควรจะเข้าสู่กระบวนการตรวจหรือไม่ ราคาองค์ละ 200 บาท
- งดออกใบรับรองทุกชนิด จนกว่าจะดำเนินการให้ถูกต้อง
ส่งพระหรือมาที่ นายทวีสิทธิ์ วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ 48/199 หมู่ 7 หมู่บ้านดีเค ซอยพระยามนธาตุ 35-5 ถนนกาญจนาภิเษก บางบอน บางบอน กทม. 10150
- วันเสาร์ - อาทิตย์ มาพบกันที่สนามหลวง 2 ส่วนขยาย โซน 2 ซอย 72 - 74 ก่อนมาควรโทรมานัดก่อน
เลขบัญชีครับ ทวีสิทธิ์ วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ ธนาคารกสิกรไทย บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 7112347636 สาขาถนนพระราม2
โทร 094 - 3495557 Email : taweesitart@gmail.com , taweesit_art@hotmail.com
บทความและรูปภาพทุกภาพในห้องนี้มีลิขสิทธิ์ กรุณาอย่านำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาติ ไฟล์ภาพทุกภาพฝังไฟล์พิสูจน์ตัวตนไว้แล้ว มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์
© 2009 www.thaicanvas.com All rights reserved.